วันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557

แบบทดสอบ เรื่อง ความงามของวรรณศิลป์


แบบทดสอบ เรื่อง ความงามของวรรณศิลป์

1. ขอใดไมมีการใชคําที่ แสดงความหมายตรงกันขาม
     1.  กระจุกกระจายไปพรายพรอย            
     2. สอดเดนแซมดอยดอกสรอยสรวง
     3. เหลื่อมหลืบลึกตื้นหมื่นหลืบลวง           
    4. หลากหองหลายหวงเกินลวงรู
2. ขอใดมี การเลนคําพองเสียง
     1. เสียงสรวลระรี่นี้         เสียงแกวพี่หรือเสียงใคร
       เสียงสรวลเสียงทรามวัย      สุดสายใจพี่ ตามมา
     2. นางนวลนวลนารัก    ไมนวลพักตรอันทรามสงวน
       แกวพี่นี้สุดนวล              ดั่งนางฟ้าหนาใยยอง
     3. งามทรงวงดั่งวาด         งามมารยาทนาดกรกราย
       งามพริ้มยิ้มแยมพราย      งามคําหวานลานใจถวิล
     4. เพรางายวายเสพรส             แสนกําสรดอดโอชา
       อิ่มทุกขอิ่มชลนา                  อิ่มโศกาหนานองชล
3. ขอใดมี การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ
     1.  เสียงสังขแตรแซศัพทมหามโหระทึกกึกกอง
     2. ทั้งเสียงจักจั่นพรรณเรไรเรื่อยรองระงมดง
     3. กองกึกพิลึกปีบประเปรี้ยงเสียงสนั่นลั่นพนัสพนาดร
     4. ก็เปลงเสียงกองโกญจศัพทประกาศกาหลคํารนนฤโฆษ
4.  ศิลปะการประพันธขอใดใชอัพภาสเลียนเสียงธรรมชาติ
     1.  ชะโดดุกกระดี่โดด         สลาดโลดยะหยอยหยอย
        กระเพื่อมน้ำพะพร่ำพรอย    กระฉอกฉานกระฉอนชล
     2. พลหัวหนาพะกัน   แกวงตาวฟันฉะฉาดแกวงดาบฟันฉะฉัด
      ซองหอกซัดยะยุง        ซองหอกพุงยะยาย
     3. เกลากลอนใสชักครุคระ มุงจะจะจากปรุโปรง
 แลตะละโลงลอดฟา
     4. ทั้งยุงชุมรุมกัดปัดเปรี๊ยะประเสียงผัวะผะพึ่บพั่บปุบปบแปะ
5. ขอใดมีการซ้ำคําที่มีความหมายเหมือนกันทุกคํา
     1. ทั้งหนาวลมหนาวพรมน้ำคางพราว          
         ไหนจะหนาวซากผาศิลาเย็น
     2. เห็นรอหกเหมือนหนึ่งรักพี่ รอรา      
         แตรอทารั้งทุกขมาตามทาง
     3. ระกํากายมาถึงทายระกําบัง
        ระกํายานนี้ก็ ยาวนะอกเอ๋ย
     4. ถึงเกาะเกิดเกิดเกาะขึ้นกลางน้ำ      
         เหมือนเกิดกรรมเกิดราชการหลวง
6.  คําประพันธบทนี้เดนที่สุดในดานใด
          กระเต็นกระตั้วตื่น                   แตกคน
     กระจิบกระจาบปน                       แปลกเปลา
     กระสากระสังสน                          เสียดสัก สูแฮ
     กระรอกกระเรียนเขา                     ยองแหยงอาหาร
     1.  ภาพพจน                           2. สัมผัสพยัญชนะ
     3. สัมผัสสระ                          4. จังหวะ
7. คําประพันธตอไปนี้ ใชศิลปะการประพันธเดนที่สุดตามขอใด
          แลถนัดในเบื้องหนาโนน ก็เขาใหญยอดเยี่ยมโพยมอยางพยับเมฆ
มีพรรณเขียวขาวดําแดง  ดูดิเรกดั่งรายรัตนนพมณี แนมนาใครชมครั้น
แสงพระสุริยะสองระดม ก็ดูเดนดังดวงดาววาวแวว วะวาบๆที่เวิ้งวุง
วิจิตรจํารัสจํารูญรุง เปนสีรุ้งพุงพนเพียงคัคนัมพรพื้นนภากาศ
     1.  สัมผัสสระ                        2. สัมผัสพยัญชนะ
     3. การใชคําอัพภาส                 4. การหลากคำ
8.        ตะวันรอนออนแสงแฝงเหลี่ยมเขา       
           พยับเงาระยับแดดแสดสีสาย
           กระทบหินหักเห็นเป็นเลื่อมพราย               
           แสนเสียดายตะวันดับลับเหลี่ยมลง
คําประพันธบทนี้เดนที่สุดในดานใด
     1.  การใหภาพ                    2. การเลนคํา
     3. การเลนสัมผัส                   4. การใหอารมณสะเทือนใจ
9.        ฉับฉวยชกฉกช้ำ                ฉุบฉับ
     โถมทุบทุมถองทับ                  ถีบทาว
     เตะตีต่อยตุบตับ                    ตบตัก
     หมดหมูเมงมอญมาว               มานเมื้อหมางเมินฯ
     คําประพันธขางตนมีลักษณะเดนทางวรรณศิลปทั้งคูตามขอใด
     1.  สัมผัสพยัญชนะ เลียนเสียงธรรมชาติ             
     2.  เลียนเสียงธรรมชาติ เลนคํา
     3. สัมผัสพยัญชนะ สัมผัสสระในวรรค            
    4.   สัมผัสสระในวรรค เลนคํา
10.  คําประพันธตอไปนี้ มีลักษณะเดนทสุดตามขอใด
     หลบหลีกไววองป้องกัน             ผัดผันหันออกกลอกกลับ
     ปะทะแทงแสรงทําสําทับ            ยางกระหยับรุกไลมิไดยั้ง
     1.  การแสดงภาพเคลื่อนไหวการซอนคํา               
     2.  การหลากคำ การเลนเสียงสัมผัส
     3. การซอนคํา การหลากคํา                   
     4. การแสดงภาพเคลื่อนไหวการเลนเสียงสัมผัส
11. ขอใดเป นลักษณะเดนที่สุดของคําประพันธตอไปนี้
          ตระการพฤกษโอบออม         ไศลหลวง
     ยื่นยอยดอกพวง                      รวงพริ้ง
     ฟอนกิ่งถวายดวง                     ดาวรุง
     เสมอมุงเกษมโศกทิ้ง                 สิ่งแกววิเศษแสวง
     1.  การซ้ำคํา                        2. การหลากคำ
     3. การใชภาพพจน               4. การเลนเสี ยงสัมผัส
   12.  ลักษณะการประพันธที่เดนที่สุดของขอความตอไปนี้
คือขอใด
           จากความวุนวูวามสูความวาง                      
จากความมืดมาสวางอยางเฉิดฉัน
จากความรอนระอุเปนเย็นนิรันดร                    
ไมรูพลันพลิกเห็นเป็นความรู
     1.  การเลนเสียงสัมผัส          
     2.  การซ้ำคําเพิ่มความหมาย
     3.  การเลนคําหลากความหมาย   
     4.  การใชคําที่มี ความหมายขัดแยงกัน
13.  ขอใดไมใชการกลาวเชิงเปรียบเทียบ
     1.  พระปิ่นภพกุเรปันกรุงศรี                                
     2. รํารายเป็นกระบวนหวนหัน
     3.  วางกองเยื้องกันเปนฟันปลา                            
     4. ไวเป็นขาใตเบื้องบทมาลย
14.  ขอใดไมใชภาพพจน
     1.  จึ่งพระปนปกธาษตรี          บุรีรัตนหงสา
     2.  เพราะพระหัตถหากป้อง      ปดดวยขอทรง
     3.  ครั้งพระบาทยินสาร           ธก็บรรหารตระบัด
      4. เถลิงอยุธยเย็นเกลา           ทั่วถวนทวยสยาม
15. ขอใดไมใชภาพพจน
     1.  งามสองสุริยราชล้ำ           เลอพิศ นาพอ
     2.  สละสละสมร                  เสมอชื่อ ไมนา
     3.  ธุมากรเกิดกระลบ            อบอลเวง
         ดูบรูจักหนา                    หนึ่งสิ้นแสงไถง
     4.  มงกุฎทรงเทริดเกศ   อยางอิศเรศรามัญ
         สรรเป็นรูปอุรเคนทร
16.  มาตรแมนเสียเมืองดาหา     จะพลอยอายขายหนาหรือหาไม
     ซึ่งเกิดศึกสาเหตุเภทภยั       ก็เพราะใครทําความไวงามพักตร
 คําประพันธขางตนนี้ ใชกลวธีทางวรรณศิลป์ไทย
     1.  การใชคําเปรียบเชิงอุปลักษณ      2. การใชอุปมานิทัศน
     3.  การใชคําถามเชิงวาทศิลป          4. การใช้บุคคลสมมุติ
17. คําประพันธตอไปนี้ไมใชกลวิธี ตามขอใด
          พระคุณตวงเพียบพื้น         ภูวดล
     เต็มตรลอดแหลงบน               บอนใต
     พระเกิดพระกอชนม               ชุบชีพ มานา
     เกรงบทันลูกได                     กลับเตาตอบสนอง
     1.  บุคคลวัต                    2. อติพจน
     3.  แผลงศัพท                  4. สัมผัสพยัญชนะ
18.       สงครามครานี้ หนัก                    ใจเจ็บ ใจนา
     เรี ยมเรงเหนงหนาวเหน็บ                   อกโอ
     ลูกตายฤใครเกบ็                              ผีฝาก พระเอย
     ผีจักเทงที่ โพล                                ที่เพลใครเผา
     ลักษณะทางวรรณศิ ลปข อใดไมปรากฏในคําประพันธขางตน
     1.  การซ้ำคํา                  2. การเลนเสียง
     3.  การใชภาพพจน          4.  การสรางอารมณสะเทือนใจ
19. ขอใดไมปรากฏในคําประพันธตอไปนี้
          เลิกทารุณขุนเขาเลิกเผาผลาญ   
           เลิกระรานทุกแดนจงแหนหวง
           เลิกทําลายยายยักเลิกตัก
           กอนผลพวงภัยสงมาลงทัณฑ
     1.  การใชภาพพจน                 2. การใชคําซอน
     3.  การเลนคําพอง                  4.  การเลนเสียงสัมผัส
20. คําประพันธในขอใดใชคําถามเชิงวาทศิลป
     1.  ไมไยดี ปรีดาประสาโลก      
         ไมทุกขโศกเสียใจหรือไหหวน
     2.  ตองใชควันความรักมากเทาไร   
         กวาจะใหเห็นความงามเติบโต
     3.  เริ่มตนจากจุดที่ ไมมีอะไร                  
        แลวหมุนไปเพื่อจะหยุดทำจุดเดิม
     4.  ผองประภัสสสะอาดอิ่มพริ้มประไพ
        มีความไมเคยมี เหมือนที่เคย
21. ขอใดมีลักษณะของกลบท
     1.  ใหพลกรองเวฬู ปูเป็นสะพานผานชล
         เรงเดินพลขามฟาก
     2. สนับเพลาพิศพรายพรอย ชายไหวยอยยะยาบ
        ชายแครงทาบเครือวัลย
     3. เสื้อแดงก่าสีดําแกม หมากสุกแปมมวงแซมปน
        หมูพหลพลมาหาญ
     4. เฒาชราเดินทะลุดทะลาดเหยียบพลาดลมผลุง
         เครือเถาสะดุงหลุดจากขอพระกร
22.  ขอใดใชกลวิธี ในการพรรณนาธรรมชาติ ตางจากขออื่น
     1.  ขุนเขาเขยาเมฆรุจิเรขหิมาลัย                  
     2.  ธารล้ำถลําตกชลหกกระหึมแรง
     3. น้ำคางพระพรางโปรย ชลโชยชะดอกใบ     
     4.  เรณูดํารูรสณพวงพนพุมผะกาไพร
23.  ขอใดใชกลวิธี การประพันธตางกับคําประพันธตอไปนี้
           โผตนนั้นผันตนไปตนโน้น
     1.  เกลี้ยงสมกลมแสงแจมแจงเกลี้ยง         
      2.  แสงเดือนสองดาวสกาวเดน
     3. ทั้งเลือดเรนทั้งเล็นไรงูใหญนอย              
      4.  ตะวันจาระอาออนสะทอนจิต
24.  ขอใดใชกลวิธี การประพันธตางจากขออื่น
     1.  ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ             
     2.  สนละเมียดเสียดยอดขึ้นกอฟา
     3. ดอกหญายิ้มหวานกับลานหญา             
      4.  แกวเอียงกลีบเคลียน้ำคางอยางหงิมหงิม
25.  คําประพันธตอไปนี้ไมถูกตองในเรื่องใด
     โขดขุนเขาแทรกเงาไมไกลลิบลิบ                     
     แดดระยิบระยับเกินจะเดินขาม
     อิงธารไหลเคี้ยวคดแตงดงาม                        
     โอบไอเย็นจนค่ำยามออนแรง
     1.  จํานวนคํา                   2.  คําสงสัมผัส
     3. คํารับสัมผัส                  4.  เสียงคําทายวรรค
      26  ขอใดเปนศิลปะการประพันธที่ไมปรากฏ
ในคําประพันธตอไปนี้
     บางระมาดมาดหมายสายสวาท                            
    วาสมมาดเหมือนใจแลวไมเหมือน
     แสนสวาทมาดหมายมาหลายเดือน                     
     มีแตเคลื่อนแคลวคลาดประหลาดใจ
     1.  การซ้ำคํา                     2.  การเลนเสียงสัมผัส
     3. การเลนคําพองเสียง          4.  การเลนคําตรงกันขาม
27.  ขอใดเป็นศิลปะการประพันธที่ไมปรากฏในคําประพันธตอไปนี้
         พรากหายใชพรากราง         นิรันดรกาล
     มีพรากมีพบพาน                     เพื่อนพอง
     ชิงโศกโศกพาผลาญ                 เผาจิต
     วันหนึ่งนั้นจักตอง                    กลับรายกลายดี
     1.  การซ้ำคํา                     2.  การเลนคําพองเสียง
     3. การเลนคําตรงกันขาม       4.  การเลนเสียงสัมผัส
28.  ขอใดไมใชภาพพจนแบบบุคคลวัต
    1.  เมฆไหลลงหมเงื้อม       ผาชะโงก            
    2.   งามมานเงาไมโศก  ซับซอน
    3. ดอกหญาปาลมโบก       ผวาชอ          
    4. ซาซาธาราฉะออน  เรงรอนระหายฝน                                     

3 ความคิดเห็น: